-
จำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
- การสร้างทางเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
- เส้นขนาน สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
- พื้นที่ผิว (ปริซึมและทรงกระบอก)
- การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
ตัวชี้วัด
ค๑.๑ ม.๒/๑ ค๒.๒ ม.๒/๑ ค๒.๒ ม.๒/๒
ค๒.๑ ม.๒/๑ ค๒.๑ ม.๒/๒ ค๒.๒ ม.๒/๓
ค๒.๒ ม.๒/๔
รวม ๗ ตัวชี้วัด
- ผู้สร้างรายวิชา: t0341 นางสาวกานดา ดำรงชัยณรงค์
ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ในสาระต่อไปนี้
เซต ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐานเกี่ยวกับเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ มีทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ทักษะการเปลี่ยนแปลง ทักษะการริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ประพจน์และตัวเชื่อม (นิเสธ และ หรือ ถ้า...แล้ว... ก็ต่อเมื่อ) มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะด้านเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รู้จักใช้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา ใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน สามารถเชื่อมโยงและนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ม.๔/๑
รวม ๑ ตัวชี้วัด
- ผู้สร้างรายวิชา: t0344 นางสาวสุชาดา ชูแสง
- การประยุกต์ของเลขยกกำลัง
- การประยุกต์เกี่ยวกับเส้นขนาน
๑. คำนวณและใช้เลขยกกำลังในการเขียนแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยๆหรือมากๆในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์และตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
๒. ใช้สมบัติของเลขยกกำลังในการดำเนินการของเลขยกกำลัง และแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการคูณและการหาร เลขยกกำลังฐานเดียวกันได้
๓. ใช้สมบัติความเท่ากันทุกประการและเส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
๔. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- ผู้สร้างรายวิชา: t0337 นางสาวจินดา มหาชัย
- การประยุกต์ของเลขยกกำลัง
- การประยุกต์เกี่ยวกับเส้นขนาน
๑. คำนวณและใช้เลขยกกำลังในการเขียนแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยๆหรือมากๆในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์และตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
๒.
ใช้สมบัติของเลขยกกำลังในการดำเนินการของเลขยกกำลัง
และแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการคูณและการหาร เลขยกกำลังฐานเดียวกันได้
๓.
ใช้สมบัติความเท่ากันทุกประการและเส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
๔.
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- ผู้สร้างรายวิชา: t0337 นางสาวจินดา มหาชัย
- อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา
- ปริมาตรและพื้นที่ผิว ลักษณะและสมบัติของ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลมการหาพื้นที่ผิวของปริซึม ทรงกระบอก การหาปริมาตรของปริซึม พีระมิด กรวย และทรงกลม การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่และปริมาตรในการแก้ปัญหา เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ทักษะในการเปรียบเทียบโดยใช้เทคโนโลยีในการคิดคำนวณ
- ความคล้าย รูปที่คล้ายกัน รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มีทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ ๖๐ องศา รวมทั้งกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา
- ระบบสมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ประยุกต์ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการแก้ระบบสมการ มีทักษะด้านการคิดคำนวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
- ผู้สร้างรายวิชา: t0337 นางสาวจินดา มหาชัย
ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผลการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ผู้สร้างรายวิชา: t0328 นายสานิตย์ เมืองสง
- ผู้สร้างรายวิชา: t0330 นางจันทร์เพ็ญ เมืองสง
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา คณิตศาสตร์ ๓ รหัสวิชา ค๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ
จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ หรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
ของผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้า
โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในสาระต่อไปนี้
จำนวนตรรกยะ
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลัง
ไปใช้ในการแก้ปัญหามีทักษะด้านการคิดคำนวณทักษะในการแก้ปัญหาทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีม
ทักษะความรับผิดชอบมีคุณลักษณะด้านการทำงาน (การปรับตัว)
การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
มีทักษะด้านการคิดคำนวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านความร่วมมือ
การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
ทักษะความยืดหยุ่นและการปรับตัว มีคุณลักษณะด้านการทำงาน (การปรับตัว) คุณลักษณะด้านการเรียนรู้
(การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง) คุณลักษณะด้านศีลธรรม (ความเคารพผู้อื่น)
เส้นขนาน สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม มีทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ ทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีคุณลักษณะด้านการเรียนรู้ (การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง)
พื้นที่ผิว (ปริซึมและทรงกระบอก)
การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับ
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
มีทักษะด้านการคิดคำนวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และทักษะในการแก้ปัญหา
ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำ ทักษะความยืดหยุ่นและการปรับตัว
มีคุณลักษณะด้านการทำงาน
(การปรับตัว) คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ (การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง)
คุณลักษณะด้านศีลธรรม (ความเคารพผู้อื่น)
ปริมาตร (ปริซึมและทรงกระบอก)
การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกการนำความรู้เกี่ยวกับปริมาตร
ของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
มีทักษะด้านการคิดคำนวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ปัญหา
ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีมภาวะผู้นำ ทักษะความยืดหยุ่นและการปรับตัว
มีคุณลักษณะด้านการทำงาน
(การปรับตัว) คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ (การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง)
คุณลักษณะด้านศีลธรรม(ความเคารพผู้อื่น)
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน
การสะท้อน การหมุน การนำความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต
ไปใช้ในการแก้ปัญหา
มีทักษะด้านการเขียน ทักษะด้านการคิดคำนวณ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะด้านคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้
ทักษะการริเริ่มสร้างสรรค์
มีคุณลักษณะด้านการเรียนรู้(การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง)
ความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน-มุม-ด้าน, มุม-ด้าน-มุม, ด้าน-ด้าน-ด้าน มีทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ ทักษะ ในการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะความรับผิดชอบ มีคุณลักษณะด้านการทำงาน (การปรับตัว)
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ
มีทักษะในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง
ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งเห็นคุณค่า
และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ
ตัวชี้วัด
ค๑.๑ ม.๒/๑
ค๒.๒ ม.๒/๑
ค๒.๒ ม.๒/๒
ค๒.๑ ม.๒/๑
ค๒.๑ ม.๒/๒
ค๒.๒ ม.๒/๓
ค๒.๒ ม.๒/๔
รวม ๗ ตัวชี้วัด
- ผู้สร้างรายวิชา: t0343 นางสาวโสพิศตา สมจันทร์
ศึกษาฝึกทักษะคิดคำนวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ หรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการ
ในสาระต่อไปนี้
จำนวนตรรกยะ จำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน จำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดคำนวณ ทักษะความร่วมมือกับผู้อื่น
การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างเรขาคณิตโดยใช้วงเวียนและเส้นตรง การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่ายโดยใช้การสร้างพื้นฐาน การสำรวจสมบัติทางเรขาคณิต มีทักษะการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์และการวัดจริง คิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและวางแผนอย่างเป็นระบบ
มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามภาพที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ มีทักษะสืบเสาะ สังเกต คาดการณ์ ประยุกต์ใช้ความรู้จากเรขาคณิตสามมิติมาประดิษฐ์เป็นผลงาน ใช้เทคโนโลยีในการสืบเสาะข้อมูล สื่อสาร นำเสนอข้อมูล เผยแพร่ผลผลงาน
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้ต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ม.๑/๑
ค ๑.๑ ม.๑/๒
ค ๑.๑ ม.๑/๓
ค ๒.๒ ม.๑/๑
รวม ๔ ตัวชี้วัด
- ผู้สร้างรายวิชา: t0342 นางสาวมะลิวัลย์ ยอดดี